Difference between revisions of "TTMIK ระดับ 1 ระดับ1 บทที่ 22"
Piggyrabbit (Talk | contribs) |
Piggyrabbit (Talk | contribs) (→하다 [ha-da] = ทำ) |
||
(One intermediate revision by one user not shown) | |||
Line 1: | Line 1: | ||
ในบทที่ 16 เราเรียนกันไปแล้วว่าจะเปลี่ยนรูปคำกริยาให้อยู่ในรูปปัจจุบันกาลได้อย่างไร (현재 시제: hyeon-je si-je) และในบทที่ 17 เราเรียนการผันคำกริยาให้อยู่ในรูปอดีตกาล (과거 시 제: gwa-geo si-je) และเราก็ได้เรียนกันไปแล้วด้วยว่าคำกริยา 하다 [hada] มีวิธีการผันเป็นของตัวเองแตกต่างจากคำกริยาทั่ว ๆ ไป | ในบทที่ 16 เราเรียนกันไปแล้วว่าจะเปลี่ยนรูปคำกริยาให้อยู่ในรูปปัจจุบันกาลได้อย่างไร (현재 시제: hyeon-je si-je) และในบทที่ 17 เราเรียนการผันคำกริยาให้อยู่ในรูปอดีตกาล (과거 시 제: gwa-geo si-je) และเราก็ได้เรียนกันไปแล้วด้วยว่าคำกริยา 하다 [hada] มีวิธีการผันเป็นของตัวเองแตกต่างจากคำกริยาทั่ว ๆ ไป | ||
− | 하다 [ha-da] = ทำ | + | == 하다 [ha-da] = ทำ == |
− | รูปในพจนานุกรม = 하다 | + | รูปในพจนานุกรม = 하다<br /> |
− | ปัจจุบันกาล = 하 + 여요 = 해요 [hae-yo] | + | ปัจจุบันกาล = 하 + 여요 = 해요 [hae-yo]<br /> |
อดีตกาล = 하 + 였어요 = 했어요 | อดีตกาล = 하 + 였어요 = 했어요 | ||
− | เราได้รู้แล้วด้วยว่าคำกริยา 하다 เป็นคำที่ใช้เยอะและบ่อย เพราะว่ามีหลายคำกริยาในภาษาเกาหลีที่สร้างขึ้นมาจากการเอาคำนามผสมกับ 히다 | + | เราได้รู้แล้วด้วยว่าคำกริยา 하다 เป็นคำที่ใช้เยอะและบ่อย เพราะว่ามีหลายคำกริยาในภาษาเกาหลีที่สร้างขึ้นมาจากการเอาคำนามผสมกับ 히다<br /> |
คำนามหลายๆ คำในภาษาเกาหลีที่แสดงการกระทำหรือพฤติกรรมสามารถนำมาผสมกับคำว่า 하다 และจะกลายเป็นคำกริยา | คำนามหลายๆ คำในภาษาเกาหลีที่แสดงการกระทำหรือพฤติกรรมสามารถนำมาผสมกับคำว่า 하다 และจะกลายเป็นคำกริยา | ||
− | ตัวอย่าง | + | '''ตัวอย่าง''' |
− | + | *공부 = การเรียน / 공부하다 = เรียน | |
− | + | *일 = งาน / 일하다 = ทำงาน | |
− | + | *기억 = ความทรงจำ / 기억하다 = จำได้ | |
− | + | *청소 = การทำความสะอาด / 청소하다 = ทำความสะอาด | |
− | + | *요리 = การทำอาหาร จาน / 요리하다 =ทำอาหาร | |
− | + | *이사 = การเคลื่อนย้าย / 이사하다 = ย้าย ย้ายบ้าน | |
− | + | *노래 = เพลง / 노래하다 = ร้องเพลง | |
− | + | *노력 = ความพยายาม / 노력하다 =พยายาม | |
− | + | *동의 = การตกลง / 동의하다 = ตกลง | |
− | + | *인정 = การยอมรับ การตอบรับ / 인정하다 =ยอมรับ | |
− | + | *후회 = ความสำนึกเสียใจ / 후회하다 = สำนึก เสียใจ | |
− | + | *운동 = การออกกำลังกาย / 운동하다 = ออกกำลังกาย | |
− | + | *사랑 = ความรัก / 사랑하다 = รัก | |
− | + | *말 = คำ ภาษา / 말하다 = พูด | |
− | + | *생각 = ความคิด / 생각하다 = คิด | |
+ | |||
+ | == การสร้างประโยคปฏิเสธด้วยคำกริยา 하다 == | ||
+ | |||
+ | การสร้างประโยคปฏิเสธด้วยการใช้คำกริยา 하다 เราจะต้องแยกส่วนของคำนาม และคำกริยา 하다 ออกจากกันและเติม 안 ไว้ตรงกลาง<br /> | ||
+ | (การสร้างประโยคปฏิเสธในภาษาเกาหลีอยู่ในบทที่ 21) | ||
+ | |||
+ | '''ตัวอย่าง''' | ||
+ | 생각하다 --> 생각 안 하다<br /> | ||
+ | 노력하다 --> 노력 안 하다 | ||
+ | |||
+ | และถ้าจำกันได้ จากบทที่ 21 การสร้างประโยคปฏิเสธในภาษาเกาหลีทำได้สองแบบ คือ การเติม 안 หน้าคำกริยาและการใช้คำกริยา 지 않다 ถ้าเกิดว่าเราจะได้ 지 않다 กับ กริยา 하다 เราก็แค่ผัน 하다 ให้เป็น 하지 않다 [ha-ji an-ta] |
Latest revision as of 18:08, 21 January 2012
ในบทที่ 16 เราเรียนกันไปแล้วว่าจะเปลี่ยนรูปคำกริยาให้อยู่ในรูปปัจจุบันกาลได้อย่างไร (현재 시제: hyeon-je si-je) และในบทที่ 17 เราเรียนการผันคำกริยาให้อยู่ในรูปอดีตกาล (과거 시 제: gwa-geo si-je) และเราก็ได้เรียนกันไปแล้วด้วยว่าคำกริยา 하다 [hada] มีวิธีการผันเป็นของตัวเองแตกต่างจากคำกริยาทั่ว ๆ ไป
하다 [ha-da] = ทำ
รูปในพจนานุกรม = 하다
ปัจจุบันกาล = 하 + 여요 = 해요 [hae-yo]
อดีตกาล = 하 + 였어요 = 했어요
เราได้รู้แล้วด้วยว่าคำกริยา 하다 เป็นคำที่ใช้เยอะและบ่อย เพราะว่ามีหลายคำกริยาในภาษาเกาหลีที่สร้างขึ้นมาจากการเอาคำนามผสมกับ 히다
คำนามหลายๆ คำในภาษาเกาหลีที่แสดงการกระทำหรือพฤติกรรมสามารถนำมาผสมกับคำว่า 하다 และจะกลายเป็นคำกริยา
ตัวอย่าง
- 공부 = การเรียน / 공부하다 = เรียน
- 일 = งาน / 일하다 = ทำงาน
- 기억 = ความทรงจำ / 기억하다 = จำได้
- 청소 = การทำความสะอาด / 청소하다 = ทำความสะอาด
- 요리 = การทำอาหาร จาน / 요리하다 =ทำอาหาร
- 이사 = การเคลื่อนย้าย / 이사하다 = ย้าย ย้ายบ้าน
- 노래 = เพลง / 노래하다 = ร้องเพลง
- 노력 = ความพยายาม / 노력하다 =พยายาม
- 동의 = การตกลง / 동의하다 = ตกลง
- 인정 = การยอมรับ การตอบรับ / 인정하다 =ยอมรับ
- 후회 = ความสำนึกเสียใจ / 후회하다 = สำนึก เสียใจ
- 운동 = การออกกำลังกาย / 운동하다 = ออกกำลังกาย
- 사랑 = ความรัก / 사랑하다 = รัก
- 말 = คำ ภาษา / 말하다 = พูด
- 생각 = ความคิด / 생각하다 = คิด
การสร้างประโยคปฏิเสธด้วยคำกริยา 하다
การสร้างประโยคปฏิเสธด้วยการใช้คำกริยา 하다 เราจะต้องแยกส่วนของคำนาม และคำกริยา 하다 ออกจากกันและเติม 안 ไว้ตรงกลาง
(การสร้างประโยคปฏิเสธในภาษาเกาหลีอยู่ในบทที่ 21)
ตัวอย่าง
생각하다 --> 생각 안 하다
노력하다 --> 노력 안 하다
และถ้าจำกันได้ จากบทที่ 21 การสร้างประโยคปฏิเสธในภาษาเกาหลีทำได้สองแบบ คือ การเติม 안 หน้าคำกริยาและการใช้คำกริยา 지 않다 ถ้าเกิดว่าเราจะได้ 지 않다 กับ กริยา 하다 เราก็แค่ผัน 하다 ให้เป็น 하지 않다 [ha-ji an-ta]