Difference between revisions of "TTMIK ระดับ 2 ระดับ1 บทที่ 13"

From Korean Wiki Project
Jump to: navigation, search
(Created page with 'เราได้เรียนคำบ่งชี้กันไปบ้างแล้ว อย่างเช่นคำบ่งชี้หัวเรื่อง -...')
 
 
(One intermediate revision by one user not shown)
Line 1: Line 1:
เราได้เรียนคำบ่งชี้กันไปบ้างแล้ว อย่างเช่นคำบ่งชี้หัวเรื่อง -이 และ -가  คำบ่งชี้ประธาน -은 และ -는  หรือแม้แต่คำบ่งชี้กรรม -을 และ -를  
+
เราได้เรียนคำบ่งชี้กันไปบ้างแล้ว อย่างเช่นคำบ่งชี้หัวเรื่อง -이 และ -가  คำบ่งชี้ประธาน -은 และ -는  หรือแม้แต่คำบ่งชี้กรรม -을 และ -를
 
ในบทนี้เราจะมาเรียนคำบ่งชี้อีกคำหนึ่ง นั่นคือ -도 (โด)
 
ในบทนี้เราจะมาเรียนคำบ่งชี้อีกคำหนึ่ง นั่นคือ -도 (โด)
  
-도 (โด) มีความหมายว่า "ด้วย" หรือ "อีกด้วย"  
+
-도 (โด) มีความหมายว่า "ด้วย" หรือ "อีกด้วย"
  
 
ในภาษาเกาหลีเราจะเติมคำว่า -도 (โด) หลังคำนาม เมื่อเราใช้คำว่า -도 (โด) หลังคำนามหรือคำสรรพนามที่มีคำบ่งชี้อื่นๆ ตามหลังอยู่แล้ว เราจะแทนที่คำบ่งชี้เหล่านั้นด้วย -도 (โด) ได้เลย
 
ในภาษาเกาหลีเราจะเติมคำว่า -도 (โด) หลังคำนาม เมื่อเราใช้คำว่า -도 (โด) หลังคำนามหรือคำสรรพนามที่มีคำบ่งชี้อื่นๆ ตามหลังอยู่แล้ว เราจะแทนที่คำบ่งชี้เหล่านั้นด้วย -도 (โด) ได้เลย
Line 10: Line 10:
 
*ฉันเป็นนักเรียนด้วย (เหมือนกัน) = 저도 학생이에요 (ชอโต้ ฮักแซง อี เอ โย)
 
*ฉันเป็นนักเรียนด้วย (เหมือนกัน) = 저도 학생이에요 (ชอโต้ ฮักแซง อี เอ โย)
 
**จำไว้ว่า ไม่ใช่เขียนว่า "저는도 학생이에요"
 
**จำไว้ว่า ไม่ใช่เขียนว่า "저는도 학생이에요"
 +
 +
*ฉันเอาอันนี้มา = 이것 가져왔어요 (อีกอด คาชยอ วัดซอโย)
 +
*ฉันก็เอาอันนี้มาด้วย = 이것도 가져왔어요 (อีกอดโต้ คาชยอ วัดซอโย
 +
 +
*วันนี้เธอทำงานหรือเปล่า = 오늘 일해요? (โอนึล อิลแฮโย)
 +
*วันนี้เธอก็ทำงานด้วยหรือ = 오늘도 일해요? (โอนึลโต้ อิลแฮโย)
 +
 +
การวาง -도 ในตำแหน่งที่ต่างกันในประโยคสามารถทำให้ความหมายของทั้งประโยคเปลี่ยนได้
 +
 +
ตัวอย่าง
 +
"ขอน้ำให้ฉันหน่อย" เราพูดว่า 물주세요 (มุล ชูเซโย)
 +
 +
ทีนี้ ถ้าเราต้องการพูดว่า "ขอน้ำให้ฉันหน่อย (ไม่ใช่ให้คนอื่น) เราจะพูดว่า 저도 물 주세요 (ชอโต้ มุลชูเซโย)
 +
 +
แต่ถ้าเราพูดว่า "ขอน้ำให้ฉันหน่อย (ไม่ใช่ของอย่างอื่น) เราจะพูดว่า 저물도 주세요 (ชอ มุลโต้ ชูเซโย)
 +
 +
แล้วถ้าเราอยากจะใช้คำว่า -도 กับคำกริยาบ้างล่ะ โปรดติดตามตอนต่อไป

Latest revision as of 13:57, 19 February 2012

เราได้เรียนคำบ่งชี้กันไปบ้างแล้ว อย่างเช่นคำบ่งชี้หัวเรื่อง -이 และ -가 คำบ่งชี้ประธาน -은 และ -는 หรือแม้แต่คำบ่งชี้กรรม -을 และ -를 ในบทนี้เราจะมาเรียนคำบ่งชี้อีกคำหนึ่ง นั่นคือ -도 (โด)

-도 (โด) มีความหมายว่า "ด้วย" หรือ "อีกด้วย"

ในภาษาเกาหลีเราจะเติมคำว่า -도 (โด) หลังคำนาม เมื่อเราใช้คำว่า -도 (โด) หลังคำนามหรือคำสรรพนามที่มีคำบ่งชี้อื่นๆ ตามหลังอยู่แล้ว เราจะแทนที่คำบ่งชี้เหล่านั้นด้วย -도 (โด) ได้เลย

ตัวอย่าง

  • ฉันเป็นนักเรียน = 저는 학생이에요 (ชอนึน ฮักแซง อี เอ โย)
  • ฉันเป็นนักเรียนด้วย (เหมือนกัน) = 저도 학생이에요 (ชอโต้ ฮักแซง อี เอ โย)
    • จำไว้ว่า ไม่ใช่เขียนว่า "저는도 학생이에요"
  • ฉันเอาอันนี้มา = 이것 가져왔어요 (อีกอด คาชยอ วัดซอโย)
  • ฉันก็เอาอันนี้มาด้วย = 이것도 가져왔어요 (อีกอดโต้ คาชยอ วัดซอโย
  • วันนี้เธอทำงานหรือเปล่า = 오늘 일해요? (โอนึล อิลแฮโย)
  • วันนี้เธอก็ทำงานด้วยหรือ = 오늘도 일해요? (โอนึลโต้ อิลแฮโย)

การวาง -도 ในตำแหน่งที่ต่างกันในประโยคสามารถทำให้ความหมายของทั้งประโยคเปลี่ยนได้

ตัวอย่าง "ขอน้ำให้ฉันหน่อย" เราพูดว่า 물주세요 (มุล ชูเซโย)

ทีนี้ ถ้าเราต้องการพูดว่า "ขอน้ำให้ฉันหน่อย (ไม่ใช่ให้คนอื่น) เราจะพูดว่า 저도 물 주세요 (ชอโต้ มุลชูเซโย)

แต่ถ้าเราพูดว่า "ขอน้ำให้ฉันหน่อย (ไม่ใช่ของอย่างอื่น) เราจะพูดว่า 저물도 주세요 (ชอ มุลโต้ ชูเซโย)

แล้วถ้าเราอยากจะใช้คำว่า -도 กับคำกริยาบ้างล่ะ โปรดติดตามตอนต่อไป