Difference between revisions of "TTMIK ระดับ 1 ระดับ1 บทที่ 10"
Piggyrabbit (Talk | contribs) |
Piggyrabbit (Talk | contribs) (→없어요 [eop-sseo-yo]) |
||
(7 intermediate revisions by one user not shown) | |||
Line 1: | Line 1: | ||
บทนี้เราจะมาเรียนเรื่อง | บทนี้เราจะมาเรียนเรื่อง | ||
− | “있어요” [i-sseo-yo] and ”없어요” [eop-sseo-yo] | + | == “있어요” [i-sseo-yo] and ”없어요” [eop-sseo-yo] == |
เมื่อเราต้องการพูดว่าใครมีหรือไม่มีอะไร และ เมื่อต้องการจะพูดว่า มีของบางอยู่ หรือ ไม่มี เราสามารถใช้โครงสร้างทั้งสองนี้ได้ | เมื่อเราต้องการพูดว่าใครมีหรือไม่มีอะไร และ เมื่อต้องการจะพูดว่า มีของบางอยู่ หรือ ไม่มี เราสามารถใช้โครงสร้างทั้งสองนี้ได้ | ||
Line 10: | Line 10: | ||
และ 없어요 [eop-sseo-yo] คือคำตรงข้ามกับ 있어요 นั่นเอง มาจากกริยา 없다 [eop-da] จริง ๆ แล้วเวลาเราอยากจะพูดว่าไม่มีอะไร เราสามารถใช้ 있어요 แต่ทำให้เป็นประโยคปฏิเสธก็ได้ แต่ว่า ในเมื่อในภาษาเกาหลี มีกริยา 없어요 ซึ่งหมายถึงว่าไม่มีอยู่ อยู่แล้ว ดังนั้นการใช้กริยา 없어요 เพื่อที่จะหมายถึงว่าไม่มีอยู่ ก็ดูจะง่ายและสะดวกกว่าที่จะพูดว่า 있지 않아요 หรือ 안 있어요 (เราจะเรียนเรื่องนี้ในบทต่อ ๆ ไป) | และ 없어요 [eop-sseo-yo] คือคำตรงข้ามกับ 있어요 นั่นเอง มาจากกริยา 없다 [eop-da] จริง ๆ แล้วเวลาเราอยากจะพูดว่าไม่มีอะไร เราสามารถใช้ 있어요 แต่ทำให้เป็นประโยคปฏิเสธก็ได้ แต่ว่า ในเมื่อในภาษาเกาหลี มีกริยา 없어요 ซึ่งหมายถึงว่าไม่มีอยู่ อยู่แล้ว ดังนั้นการใช้กริยา 없어요 เพื่อที่จะหมายถึงว่าไม่มีอยู่ ก็ดูจะง่ายและสะดวกกว่าที่จะพูดว่า 있지 않아요 หรือ 안 있어요 (เราจะเรียนเรื่องนี้ในบทต่อ ๆ ไป) | ||
+ | |||
+ | <big>สรุปคือ</big> | ||
+ | |||
+ | 있어요 <--> 없어요<br /> | ||
+ | [i-sseo-yo] [eop-sseo-yo] | ||
+ | |||
+ | <u>ลองมาดูตัวอย่างอื่นๆ</u> | ||
+ | |||
+ | === 있어요 [i-sseo-yo] === | ||
+ | |||
+ | ในตัวอย่าง เราจะใช้คำเหล่านี้<br /> | ||
+ | 물 [mul] = น้ำ / 친구 [chin-gu] = เพื่อน / 시간 [si-gan] = เวลา<br /> | ||
+ | เราก็แค่เติม 있어요 ตามหลังคำนามที่เรากำลังจะพูดถึง | ||
+ | |||
+ | * 물 있어요. [mul i-sseo-yo] = มีน้ำอยู่ /ฉันมีน้ำ / พวกเขามีน้ำ | ||
+ | * 물 있어요? [mul i-sseo-yo?] = มีน้ำไหม / เธอมีน้ำไหม / พวกเขามีน้ำไหม | ||
+ | * 친구 있어요. [chin-gu i-sseo-yo] = ฉันมีเพื่อน / มีเพื่อน | ||
+ | * 친구 있어요? [chin-gu i-sseo-yo?] = เธอมีเพื่อนหรือเปล่า / พวกเขามีเพื่อนหรือเปล่า | ||
+ | * 시간 있어요. [si-gan i-sseo-yo] = มีเวลา / ฉันมีเวลา / พวกเขามีเวลา | ||
+ | * 시간 있어요? [si-gan i-sseo-yo?] = มีเวลาไหม/ เธอมีเวลาไหม / พวกเขามีเวลาไหม | ||
+ | |||
+ | และแค่แทนที่ 있어요 [i-sseo-yo] ด้วย 없어요 [eops-eo-yo] เราก็จะได้ประโยคที่มีความหมายตรงกันข้าม | ||
+ | |||
+ | === 없어요 [eop-sseo-yo] === | ||
+ | |||
+ | * 시간 없어요. [si-gan eop-sseo-yo] = ไม่มีเวลา / ฉันไม่มีเวลา / พวกเขาไม่มีเวลา | ||
+ | * 친구 없어요. [chin-gu eop-sseo-yo] = ฉันไม่มีเพื่อน | ||
+ | |||
+ | === <font color=DeepSkyBlue>ได้เวลาทบทวน</font> === | ||
+ | |||
+ | ยังจำการใช้ 은/는 [eun/neun] คำแสดงหัวข้อ และ 이/가 [i/ga] คำแสดงประธานกันได้อยู่หรือเปล่า | ||
+ | |||
+ | 은 และ 는 เป็นคำแสดงหัวข้อของประโยค ในขณะเดียวกัน ก็เป็นการเน้นย้ำความแตกต่างของหัวข้อที่กำลังพูดถึงกับสิ่งอื่น | ||
+ | ดัวนั้นถ้าเราพูดว่า 시간 없어요. [si-gan eops-eo-yo] แปลว่า ฉันไม่มีเวลา แต่ถ้าเราอยากจะพูดว่า "ฉันมีทุกอย่าง ยกเว้น เวลา ที่ฉันไม่มี" เราก็จะเติม 은 / 는 เข้าไปหลังคำว่า 시간 [si-gan] ในกรณีนี้เราจะเติม 은 เพราะว่าคำนี้ลงท้ายด้วยตัวสะกด เราก็จะได้ประโยคว่า 시간은 없어요. | ||
+ | |||
+ | และถ้ามีคนถามเราว่า "อะไรที่เธอไม่มี" หรือ "อะไรที่เธอพูดว่าเธอไม่มี" เราสามารถตอบคำถามได้โดยพูดว่า "เวลา เวลาไงที่ฉันไม่มี" ซึ่งทำเป็นประโยคภาษาเกาหลีได้ว่า 시간이 없어요. | ||
+ | |||
+ | ในภาษาเกาหลี เราใช้ 있어요 และ 없어요 ในหลายๆ ประโยคในชีวิตประจำวัน | ||
+ | |||
+ | 재미 [ jae-mi] = สนุก<br /> | ||
+ | 재미 + 있어요 = 재미있어요 = แปลตรงตัวจะแปลว่า มีความสนุกอยู่ แต่จริงๆ แล้วประโยคนี้หมายถึงว่า "น่าสนใจ" | ||
+ | |||
+ | จะสังเกตเห็นได้ว่าคำทั้งสองเขียนติดกัน ก็เพราะว่าประโยคนี้กลายเป็นประโยคที่ใช้ในชีวิตประจำวันไปแล้ว | ||
+ | |||
+ | <u>ตัวอย่าง</u><br /> | ||
+ | <font color=DeepSkyBlue>TTMIK 재미있어요! [ jae-mi-i-sseo-yo] = TTMIK สนุก / TTMIK น่าสนใจ</font> |
Latest revision as of 15:25, 19 December 2011
บทนี้เราจะมาเรียนเรื่อง
Contents
“있어요” [i-sseo-yo] and ”없어요” [eop-sseo-yo]
เมื่อเราต้องการพูดว่าใครมีหรือไม่มีอะไร และ เมื่อต้องการจะพูดว่า มีของบางอยู่ หรือ ไม่มี เราสามารถใช้โครงสร้างทั้งสองนี้ได้
있어요 [i-sseo-yo] มาจากกริยา 있다 [it-da] ซึ่งมักใช้เวลาเราต้องการจะบอกว่า มีบางสิ่งบางอย่างอยู่ เมื่อเราพูดว่ามีบางคนหรือบางสิ่งอยู่ ณ ที่แห่งหนึ่ง กริยาที่ใช้ก็คือ "อยู่" (เทียบได้กับ verb "to be" ในภาษาอังกฤษ) อย่างเช่น ฉันอยู่ที่นี่ มันอยู่ที่นั้น ตอนนี้ฉันอยู่บ้าน
หากเรากำลังพูดว่า ของบางอย่าง หรือคนบางคนในบางกรณี อยู่ในความครอบครองของเรา หรือเราเป็นเจ้าของ ก็คือ เรา "มี" สิ่งนั้นนั่นเอง ตัวอย่างเช่น ฉันมีพี่สาว ฉันมีหมา 11 ตัว หรือ เธอมีเครื่องบินส่วนตัวหรือเปล่า
และ 없어요 [eop-sseo-yo] คือคำตรงข้ามกับ 있어요 นั่นเอง มาจากกริยา 없다 [eop-da] จริง ๆ แล้วเวลาเราอยากจะพูดว่าไม่มีอะไร เราสามารถใช้ 있어요 แต่ทำให้เป็นประโยคปฏิเสธก็ได้ แต่ว่า ในเมื่อในภาษาเกาหลี มีกริยา 없어요 ซึ่งหมายถึงว่าไม่มีอยู่ อยู่แล้ว ดังนั้นการใช้กริยา 없어요 เพื่อที่จะหมายถึงว่าไม่มีอยู่ ก็ดูจะง่ายและสะดวกกว่าที่จะพูดว่า 있지 않아요 หรือ 안 있어요 (เราจะเรียนเรื่องนี้ในบทต่อ ๆ ไป)
สรุปคือ
있어요 <--> 없어요
[i-sseo-yo] [eop-sseo-yo]
ลองมาดูตัวอย่างอื่นๆ
있어요 [i-sseo-yo]
ในตัวอย่าง เราจะใช้คำเหล่านี้
물 [mul] = น้ำ / 친구 [chin-gu] = เพื่อน / 시간 [si-gan] = เวลา
เราก็แค่เติม 있어요 ตามหลังคำนามที่เรากำลังจะพูดถึง
- 물 있어요. [mul i-sseo-yo] = มีน้ำอยู่ /ฉันมีน้ำ / พวกเขามีน้ำ
- 물 있어요? [mul i-sseo-yo?] = มีน้ำไหม / เธอมีน้ำไหม / พวกเขามีน้ำไหม
- 친구 있어요. [chin-gu i-sseo-yo] = ฉันมีเพื่อน / มีเพื่อน
- 친구 있어요? [chin-gu i-sseo-yo?] = เธอมีเพื่อนหรือเปล่า / พวกเขามีเพื่อนหรือเปล่า
- 시간 있어요. [si-gan i-sseo-yo] = มีเวลา / ฉันมีเวลา / พวกเขามีเวลา
- 시간 있어요? [si-gan i-sseo-yo?] = มีเวลาไหม/ เธอมีเวลาไหม / พวกเขามีเวลาไหม
และแค่แทนที่ 있어요 [i-sseo-yo] ด้วย 없어요 [eops-eo-yo] เราก็จะได้ประโยคที่มีความหมายตรงกันข้าม
없어요 [eop-sseo-yo]
- 시간 없어요. [si-gan eop-sseo-yo] = ไม่มีเวลา / ฉันไม่มีเวลา / พวกเขาไม่มีเวลา
- 친구 없어요. [chin-gu eop-sseo-yo] = ฉันไม่มีเพื่อน
ได้เวลาทบทวน
ยังจำการใช้ 은/는 [eun/neun] คำแสดงหัวข้อ และ 이/가 [i/ga] คำแสดงประธานกันได้อยู่หรือเปล่า
은 และ 는 เป็นคำแสดงหัวข้อของประโยค ในขณะเดียวกัน ก็เป็นการเน้นย้ำความแตกต่างของหัวข้อที่กำลังพูดถึงกับสิ่งอื่น ดัวนั้นถ้าเราพูดว่า 시간 없어요. [si-gan eops-eo-yo] แปลว่า ฉันไม่มีเวลา แต่ถ้าเราอยากจะพูดว่า "ฉันมีทุกอย่าง ยกเว้น เวลา ที่ฉันไม่มี" เราก็จะเติม 은 / 는 เข้าไปหลังคำว่า 시간 [si-gan] ในกรณีนี้เราจะเติม 은 เพราะว่าคำนี้ลงท้ายด้วยตัวสะกด เราก็จะได้ประโยคว่า 시간은 없어요.
และถ้ามีคนถามเราว่า "อะไรที่เธอไม่มี" หรือ "อะไรที่เธอพูดว่าเธอไม่มี" เราสามารถตอบคำถามได้โดยพูดว่า "เวลา เวลาไงที่ฉันไม่มี" ซึ่งทำเป็นประโยคภาษาเกาหลีได้ว่า 시간이 없어요.
ในภาษาเกาหลี เราใช้ 있어요 และ 없어요 ในหลายๆ ประโยคในชีวิตประจำวัน
재미 [ jae-mi] = สนุก
재미 + 있어요 = 재미있어요 = แปลตรงตัวจะแปลว่า มีความสนุกอยู่ แต่จริงๆ แล้วประโยคนี้หมายถึงว่า "น่าสนใจ"
จะสังเกตเห็นได้ว่าคำทั้งสองเขียนติดกัน ก็เพราะว่าประโยคนี้กลายเป็นประโยคที่ใช้ในชีวิตประจำวันไปแล้ว
ตัวอย่าง
TTMIK 재미있어요! [ jae-mi-i-sseo-yo] = TTMIK สนุก / TTMIK น่าสนใจ