Difference between revisions of "TTMIK ระดับ 1 ระดับ1 บทที่ 21"
Piggyrabbit (Talk | contribs) |
Piggyrabbit (Talk | contribs) |
||
Line 1: | Line 1: | ||
ในบทนี้เราจะมาเรียนการสร้างประโยคปฏิเสธในภาษาเกาหลีกัน | ในบทนี้เราจะมาเรียนการสร้างประโยคปฏิเสธในภาษาเกาหลีกัน | ||
− | โดยทั่วไปแล้ว การสร้างประโยคปฏิเสธในภาษาเกาหลีมีสองแบบหลัก ๆ | + | == โดยทั่วไปแล้ว การสร้างประโยคปฏิเสธในภาษาเกาหลีมีสองแบบหลัก ๆ == |
− | 1. เติม 안 [an] หน้าคำกริยา | + | 1. เติม 안 [an] หน้าคำกริยา<br /> |
2. ใช้คำกริยาปฏิเสธลงท้าย 지 않다 [ ji an-ta] | 2. ใช้คำกริยาปฏิเสธลงท้าย 지 않다 [ ji an-ta] | ||
− | แบบที่หนึ่งนั้นง่ายและใช้ในการสนทนาปกติมากกว่า ส่วนแบบที่สองนั้นค่อนข้างจะเป็นทางการแต่ก็ไม่จำเป็นว่าต้องใข้ในสถานการณ์ที่เป็นทางการเท่านั้น | + | แบบที่หนึ่งนั้นง่ายและใช้ในการสนทนาปกติมากกว่า ส่วนแบบที่สองนั้นค่อนข้างจะเป็นทางการแต่ก็ไม่จำเป็นว่าต้องใข้ในสถานการณ์ที่เป็นทางการเท่านั้น<br /> |
− | + | ||
− | + | '''หากเราจะใช้แบบที่หนึ่งโดยการเติม 안 [an] ไว้หน้าคำกริยา''' ก็จะง่ายกว่าแบบที่สองเพราะว่า เราไม่ต้องกังวลถึงกาลที่เราต้องใช้ คำว่า 안 [an] ไม่ทำให้กาลเปลี่ยนไป | |
− | + | ||
− | + | ||
− | + | ||
− | + | ||
− | 버리다 [beo-ri-da] = ขว้างทิ้ง | + | '''ตัวอย่าง''' |
− | 그거 버렸어요. [geu-geo beo-ryeo-sseo-yo] ฉันขว้างอันนั้นทิ้งไปแล้ว | + | *가다 [ga-da] = ไป |
− | 그거 안 버렸어요. [geu-geo an beo-ryeo-sseo-yo] ฉันไม่ได้ขว้างอันนั้นทิ้งไป | + | *집에 가요. [ jib-e ga-yo] ฉันกำลังจะกลับบ้าน ฉันกลับบ้าน |
− | 그거 아직 안 버렸어요. [geu-geo a-jik an beo-ryeo-sseo-yo] ฉันยังไม่ได้ขว้างอันนั้นทิ้งไป | + | *집에 안 가요. [ jib-e an ga-yo] ฉันไม่ได้กำลังจะกลับบ้าน ฉันไม่กลับบ้าน |
+ | *집에 안 가요? [ jib-e an ga-yo?] เธอไม่กลับบ้านเหรอ | ||
+ | |||
+ | *버리다 [beo-ri-da] = ขว้างทิ้ง | ||
+ | *그거 버렸어요. [geu-geo beo-ryeo-sseo-yo] ฉันขว้างอันนั้นทิ้งไปแล้ว | ||
+ | *그거 안 버렸어요. [geu-geo an beo-ryeo-sseo-yo] ฉันไม่ได้ขว้างอันนั้นทิ้งไป | ||
+ | *그거 아직 안 버렸어요. [geu-geo a-jik an beo-ryeo-sseo-yo] ฉันยังไม่ได้ขว้างอันนั้นทิ้งไป | ||
+ | |||
+ | '''ตัวอย่างการใช้แบบที่สอง (เติม 지 않다 [ ji an-ta])''' | ||
− | |||
지 않다 [ ji anta] เป็นรูปดั้งเดิม เราต้องผันเพื่อแสดงกาล | 지 않다 [ ji anta] เป็นรูปดั้งเดิม เราต้องผันเพื่อแสดงกาล | ||
− | ปัจจุบันกาล 지 않아요 [ ji a-na-yo] | + | ปัจจุบันกาล 지 않아요 [ ji a-na-yo]<br /> |
อดีตกาล 지 않았어요 [ ji a-na-sseo-yo] | อดีตกาล 지 않았어요 [ ji a-na-sseo-yo] | ||
− | เราสามารถใช้กฏการผันกริยาเหมือนๆ กับคำกริยาอื่น ๆ | + | เราสามารถใช้กฏการผันกริยาเหมือนๆ กับคำกริยาอื่น ๆ<br /> |
− | 가다 [ga-da] = ไป | + | *가다 [ga-da] = ไป |
− | 가지 않다 [ga-ji an-ta] = ไม่ไป | + | *가지 않다 [ga-ji an-ta] = ไม่ไป |
− | 가지 않아요 [ga-ji a-na-yo] = ฉันไม่ไป | + | *가지 않아요 [ga-ji a-na-yo] = ฉันไม่ไป |
− | 가지 않았어요 [ga-ji a-na-sseo-yo] = ฉันไม่ได้ไป | + | *가지 않았어요 [ga-ji a-na-sseo-yo] = ฉันไม่ได้ไป |
+ | |||
+ | *버리다 [beo-ri-da] = ขว้างทิ้ง | ||
+ | *버리지 않다 [beo-ri-ji an-ta] = ไม่ได้ขว้างทิ้ง | ||
+ | *버리지 않아요 [beo-ri-ji a-na-yo] = ฉันไม่ได้ขว้างทิ้ง | ||
+ | *버리지 않았어요 [beo-ri-ji a-na-sseo-yo] ฉันไม่ได้ขว้างทิ้งไป | ||
+ | |||
+ | '''ตัวอย่างบทสนทนาสั้น ๆ''' | ||
+ | |||
+ | A: 아파요? [a-pa-yo?] = เจ็บไหม<br /> | ||
+ | B: 안 아파요. [an a-pa-yo] = ไม่เจ็บ<br /> | ||
+ | A: 안 아파요? 진짜 안 아파요? [an a-pa-yo? jin-jja an a-pa-yo?] <br /> | ||
+ | = ไม่เจ็บเหรอ ไม่เจ็บจริงๆ นะ<br /> | ||
+ | B: 안 아파요. [an a-pa-yo] = ไม่เจ็บ | ||
+ | |||
+ | A: 안 먹어요? [an meo-geo-yo?] = เธอไม่ไปกินข้าวเหรอ<br /> | ||
+ | B: 안 먹어요! [an meo-geo-yo!] = ฉันไม่กินอ่ะ<br /> | ||
+ | A: 정말 안 먹어요? 맛있어요! [ jeong-mal an meo-geo-yo? ma-si-sseo-yo] <br /> | ||
+ | = จะไม่กินจริงๆ เหรอ อร่อยนะ<br /> | ||
+ | B: 안 먹어요. 배 안 고파요. [an meo-geo-yo. bae an go-pa-yo] <br /> | ||
+ | = ไม่กินอ่ะ ไม่หิว | ||
− | + | A: 이거 매워요? [i-geo mae-wo-yo?] = อันนี้เผ็ดไหม<br /> | |
− | + | B: 아니요. 안 매워요. [a-ni-yo. an mae-wo-yo] = ไม่ ไม่เผ็ด<br /> | |
− | + | A: 진짜 안 매워요? [ jin-jja an mae-wo-yo?] = ไม่เผ็ดจริงๆ เหรอ<br /> | |
− | + | B: 네. 안 매워요. [ne. an mae-wo-yo] = ไม่ ไม่เผ็ดเลย |
Latest revision as of 17:44, 21 January 2012
ในบทนี้เราจะมาเรียนการสร้างประโยคปฏิเสธในภาษาเกาหลีกัน
โดยทั่วไปแล้ว การสร้างประโยคปฏิเสธในภาษาเกาหลีมีสองแบบหลัก ๆ
1. เติม 안 [an] หน้าคำกริยา
2. ใช้คำกริยาปฏิเสธลงท้าย 지 않다 [ ji an-ta]
แบบที่หนึ่งนั้นง่ายและใช้ในการสนทนาปกติมากกว่า ส่วนแบบที่สองนั้นค่อนข้างจะเป็นทางการแต่ก็ไม่จำเป็นว่าต้องใข้ในสถานการณ์ที่เป็นทางการเท่านั้น
หากเราจะใช้แบบที่หนึ่งโดยการเติม 안 [an] ไว้หน้าคำกริยา ก็จะง่ายกว่าแบบที่สองเพราะว่า เราไม่ต้องกังวลถึงกาลที่เราต้องใช้ คำว่า 안 [an] ไม่ทำให้กาลเปลี่ยนไป
ตัวอย่าง
- 가다 [ga-da] = ไป
- 집에 가요. [ jib-e ga-yo] ฉันกำลังจะกลับบ้าน ฉันกลับบ้าน
- 집에 안 가요. [ jib-e an ga-yo] ฉันไม่ได้กำลังจะกลับบ้าน ฉันไม่กลับบ้าน
- 집에 안 가요? [ jib-e an ga-yo?] เธอไม่กลับบ้านเหรอ
- 버리다 [beo-ri-da] = ขว้างทิ้ง
- 그거 버렸어요. [geu-geo beo-ryeo-sseo-yo] ฉันขว้างอันนั้นทิ้งไปแล้ว
- 그거 안 버렸어요. [geu-geo an beo-ryeo-sseo-yo] ฉันไม่ได้ขว้างอันนั้นทิ้งไป
- 그거 아직 안 버렸어요. [geu-geo a-jik an beo-ryeo-sseo-yo] ฉันยังไม่ได้ขว้างอันนั้นทิ้งไป
ตัวอย่างการใช้แบบที่สอง (เติม 지 않다 [ ji an-ta])
지 않다 [ ji anta] เป็นรูปดั้งเดิม เราต้องผันเพื่อแสดงกาล
ปัจจุบันกาล 지 않아요 [ ji a-na-yo]
อดีตกาล 지 않았어요 [ ji a-na-sseo-yo]
เราสามารถใช้กฏการผันกริยาเหมือนๆ กับคำกริยาอื่น ๆ
- 가다 [ga-da] = ไป
- 가지 않다 [ga-ji an-ta] = ไม่ไป
- 가지 않아요 [ga-ji a-na-yo] = ฉันไม่ไป
- 가지 않았어요 [ga-ji a-na-sseo-yo] = ฉันไม่ได้ไป
- 버리다 [beo-ri-da] = ขว้างทิ้ง
- 버리지 않다 [beo-ri-ji an-ta] = ไม่ได้ขว้างทิ้ง
- 버리지 않아요 [beo-ri-ji a-na-yo] = ฉันไม่ได้ขว้างทิ้ง
- 버리지 않았어요 [beo-ri-ji a-na-sseo-yo] ฉันไม่ได้ขว้างทิ้งไป
ตัวอย่างบทสนทนาสั้น ๆ
A: 아파요? [a-pa-yo?] = เจ็บไหม
B: 안 아파요. [an a-pa-yo] = ไม่เจ็บ
A: 안 아파요? 진짜 안 아파요? [an a-pa-yo? jin-jja an a-pa-yo?]
= ไม่เจ็บเหรอ ไม่เจ็บจริงๆ นะ
B: 안 아파요. [an a-pa-yo] = ไม่เจ็บ
A: 안 먹어요? [an meo-geo-yo?] = เธอไม่ไปกินข้าวเหรอ
B: 안 먹어요! [an meo-geo-yo!] = ฉันไม่กินอ่ะ
A: 정말 안 먹어요? 맛있어요! [ jeong-mal an meo-geo-yo? ma-si-sseo-yo]
= จะไม่กินจริงๆ เหรอ อร่อยนะ
B: 안 먹어요. 배 안 고파요. [an meo-geo-yo. bae an go-pa-yo]
= ไม่กินอ่ะ ไม่หิว
A: 이거 매워요? [i-geo mae-wo-yo?] = อันนี้เผ็ดไหม
B: 아니요. 안 매워요. [a-ni-yo. an mae-wo-yo] = ไม่ ไม่เผ็ด
A: 진짜 안 매워요? [ jin-jja an mae-wo-yo?] = ไม่เผ็ดจริงๆ เหรอ
B: 네. 안 매워요. [ne. an mae-wo-yo] = ไม่ ไม่เผ็ดเลย