Difference between revisions of "TTMIK ระดับ 2 ระดับ1 บทที่ 14"
From Korean Wiki Project
Piggyrabbit (Talk | contribs) |
Piggyrabbit (Talk | contribs) |
||
Line 1: | Line 1: | ||
− | การใช้ -도 กับคำกริยา | + | == การใช้ -도 กับคำกริยา == |
การใช้ -도 กับคำนามหรือสรรพนามนั้นค่อนข้างง่าย เพราะเราแค่เติม -도 หลังคำนามหรือสรรพนามนั้นๆ อย่างที่เคยได้อธิบายไปแล้ว | การใช้ -도 กับคำนามหรือสรรพนามนั้นค่อนข้างง่าย เพราะเราแค่เติม -도 หลังคำนามหรือสรรพนามนั้นๆ อย่างที่เคยได้อธิบายไปแล้ว | ||
− | ลองมาทบทวนกัน | + | '''ลองมาทบทวนกัน'''<br /> |
*물 주세요. [mul ju-se-yo.] = ขอน้ำให้ฉันหน่อย | *물 주세요. [mul ju-se-yo.] = ขอน้ำให้ฉันหน่อย | ||
*물도 주세요. [mul-do ju-se-yo.] = ขอน้ำให้ฉันด้วย | *물도 주세요. [mul-do ju-se-yo.] = ขอน้ำให้ฉันด้วย | ||
Line 12: | Line 12: | ||
ทีนี้การจะใช้คำว่า -도 กับคำกริยา เราจะต้องเปลี่ยนคำกริยาให้เป็นคำนามก่อน | ทีนี้การจะใช้คำว่า -도 กับคำกริยา เราจะต้องเปลี่ยนคำกริยาให้เป็นคำนามก่อน | ||
− | รูปคำนามของคำกริยา + -도하다 | + | == รูปคำนามของคำกริยา + -도하다 == |
− | เราไม่สามารถใช้คำว่า -도 กับคำกริยาได้เลย เราต้องเปลี่ยนรูปคำกริยาให้เป็นคำนามก่อน จากนั้นเราก็จะเติม 하다 เข้าไป | + | เราไม่สามารถใช้คำว่า -도 กับคำกริยาได้เลย เราต้องเปลี่ยนรูปคำกริยาให้เป็นคำนามก่อน จากนั้นเราก็จะเติม 하다 เข้าไป<br /> |
− | การทำแบบนี้เรากำลังต้องการจะสื่อความหมายว่า "ทำ + กริยาในรูปคำนาม + ด้วย" | + | การทำแบบนี้เรากำลังต้องการจะสื่อความหมายว่า "ทำ + กริยาในรูปคำนาม + ด้วย"<br /> |
− | อาจจะดูว่าค่อนข้างสับสน แต่จริงๆ แล้วก็ไม่ต่างไปจากการผันคำกริยาอื่น ๆ | + | อาจจะดูว่าค่อนข้างสับสน แต่จริงๆ แล้วก็ไม่ต่างไปจากการผันคำกริยาอื่น ๆ<br /> |
− | เราแค่จำ -도 하다 เป็นแพทเทิร์นไว้ | + | เราแค่จำ -도 하다 เป็นแพทเทิร์นไว้<br /> |
− | แล้วเราจะเปลี่ยนคำกริยาให้อยู่ในรูปคำนามได้อย่างไร | + | == แล้วเราจะเปลี่ยนคำกริยาให้อยู่ในรูปคำนามได้อย่างไร == |
มีวิธีการเปลี่ยนคำกริยาให้อยู่ในรูปคำนามที่หลากหลาย จริงๆ ก็คล้ายๆ กับการใช้คำว่า "ทำ" เพื่อเปลี่ยนคำนามให้กลายเป็นคำกริยา เช่น แสดง การแสดง ร้องเพลง เพลง เป็นต้น แต่บทนี้เราจะมาเรียนแค่วิธีเดียวก่อน | มีวิธีการเปลี่ยนคำกริยาให้อยู่ในรูปคำนามที่หลากหลาย จริงๆ ก็คล้ายๆ กับการใช้คำว่า "ทำ" เพื่อเปลี่ยนคำนามให้กลายเป็นคำกริยา เช่น แสดง การแสดง ร้องเพลง เพลง เป็นต้น แต่บทนี้เราจะมาเรียนแค่วิธีเดียวก่อน | ||
− | เติม -기 (กี) หลังคำกริยาเพื่อเปลี่ยนรูปคำกริยาให้เป็นคำนาม | + | == เติม -기 (กี) หลังคำกริยาเพื่อเปลี่ยนรูปคำกริยาให้เป็นคำนาม == |
*보다 [bo-da] = ดู มอง | *보다 [bo-da] = ดู มอง | ||
Line 34: | Line 34: | ||
*먹기 --> 먹기도 하다 [meok-gi-do ha-da] = กินด้วย | *먹기 --> 먹기도 하다 [meok-gi-do ha-da] = กินด้วย | ||
− | ตัวอย่างอื่น ๆ | + | '''ตัวอย่างอื่น ๆ''' |
*잡다 [ jap-da] = จับ | *잡다 [ jap-da] = จับ | ||
Line 44: | Line 44: | ||
*사다 [sa-da] = to buy | *사다 [sa-da] = to buy | ||
*--> 사기도 하다 [sa-gi-do ha-da] = to also buy, to even buy | *--> 사기도 하다 [sa-gi-do ha-da] = to also buy, to even buy | ||
+ | |||
+ | **จำได้ว่าคำกริยาที่เป็น "คำนาม + 하다" อยู่ก่อนแล้ว (공부하다, 청소하다, 노래하다, 준비하다, 요리하다 ) ไม่ต้องใช้วิธีนี้ในการเปลี่ยน เราแค่แยกส่วนที่เป็นคำนามออกจาก 하다 และเติม 도 เข้าไปหลังคำนาม (공부도 하다, 청소도 하다, 노래도 하다, 준비도 하다, 요리도 하다) | ||
+ | |||
+ | '''ตัวอย่าง''' | ||
+ | |||
+ | * 저는 영어도 가르쳐요. [ jeo-neun yeong-eo-do ga-reu-chyeo-yo.] | ||
+ | *= ฉันสอนภาษาอังกฤษด้วย | ||
+ | |||
+ | *저는 영어를 가르치기도 해요. [ jeo-neun yeong-eo-reul ga-reu-chi-gi-do hae-yo.] | ||
+ | *= ฉันก็สอนภาษาอังกฤษ ฉันก็เป็นครูสอนภาษาอังกฤษ | ||
+ | |||
+ | *컴퓨터도 고쳐요. [keom-pyu-teo-do go-chyeo-yo.] | ||
+ | *= ฉันซ่อมคอมพิวเตอร์ด้วย | ||
+ | |||
+ | *컴퓨터를 고치기도 해요. [keom-pyu-teo-reul go-chi-gi-do hae-yo.] | ||
+ | *= ฉันก็ซ่อมคอมพิวเตอร์ |
Latest revision as of 15:29, 19 February 2012
Contents
การใช้ -도 กับคำกริยา
การใช้ -도 กับคำนามหรือสรรพนามนั้นค่อนข้างง่าย เพราะเราแค่เติม -도 หลังคำนามหรือสรรพนามนั้นๆ อย่างที่เคยได้อธิบายไปแล้ว
ลองมาทบทวนกัน
- 물 주세요. [mul ju-se-yo.] = ขอน้ำให้ฉันหน่อย
- 물도 주세요. [mul-do ju-se-yo.] = ขอน้ำให้ฉันด้วย
- 내일 갈 거예요. [nae-il gal geo-ye-yo.] = ฉันจะไปพรุ่งนี้
- 내일도 갈 거예요. [nae-il-do gal geo-ye-yo.] = พรุ่งนี้ด้วย ฉันก็จะไป
ทีนี้การจะใช้คำว่า -도 กับคำกริยา เราจะต้องเปลี่ยนคำกริยาให้เป็นคำนามก่อน
รูปคำนามของคำกริยา + -도하다
เราไม่สามารถใช้คำว่า -도 กับคำกริยาได้เลย เราต้องเปลี่ยนรูปคำกริยาให้เป็นคำนามก่อน จากนั้นเราก็จะเติม 하다 เข้าไป
การทำแบบนี้เรากำลังต้องการจะสื่อความหมายว่า "ทำ + กริยาในรูปคำนาม + ด้วย"
อาจจะดูว่าค่อนข้างสับสน แต่จริงๆ แล้วก็ไม่ต่างไปจากการผันคำกริยาอื่น ๆ
เราแค่จำ -도 하다 เป็นแพทเทิร์นไว้
แล้วเราจะเปลี่ยนคำกริยาให้อยู่ในรูปคำนามได้อย่างไร
มีวิธีการเปลี่ยนคำกริยาให้อยู่ในรูปคำนามที่หลากหลาย จริงๆ ก็คล้ายๆ กับการใช้คำว่า "ทำ" เพื่อเปลี่ยนคำนามให้กลายเป็นคำกริยา เช่น แสดง การแสดง ร้องเพลง เพลง เป็นต้น แต่บทนี้เราจะมาเรียนแค่วิธีเดียวก่อน
เติม -기 (กี) หลังคำกริยาเพื่อเปลี่ยนรูปคำกริยาให้เป็นคำนาม
- 보다 [bo-da] = ดู มอง
- รูปคำนาม: 보 + -기 = 보기 [bo-gi]
- 보다 --> 보기도 하다 [bo-gi-do ha-da] = ดู มองด้วย
- 먹다 [meok-da] = กิน
- รูปคำนาม: 먹 + -기 = 먹기 [meok-gi]
- 먹기 --> 먹기도 하다 [meok-gi-do ha-da] = กินด้วย
ตัวอย่างอื่น ๆ
- 잡다 [ jap-da] = จับ
- --> 잡기도 하다 [ jap-gi-do ha-da] = จับได้ด้วย
- 팔다 [pal-da] = ขาย
- --> 팔기도 하다 [pal-gi-do ha-da] = ขายด้วย
- 사다 [sa-da] = to buy
- --> 사기도 하다 [sa-gi-do ha-da] = to also buy, to even buy
- จำได้ว่าคำกริยาที่เป็น "คำนาม + 하다" อยู่ก่อนแล้ว (공부하다, 청소하다, 노래하다, 준비하다, 요리하다 ) ไม่ต้องใช้วิธีนี้ในการเปลี่ยน เราแค่แยกส่วนที่เป็นคำนามออกจาก 하다 และเติม 도 เข้าไปหลังคำนาม (공부도 하다, 청소도 하다, 노래도 하다, 준비도 하다, 요리도 하다)
ตัวอย่าง
- 저는 영어도 가르쳐요. [ jeo-neun yeong-eo-do ga-reu-chyeo-yo.]
- = ฉันสอนภาษาอังกฤษด้วย
- 저는 영어를 가르치기도 해요. [ jeo-neun yeong-eo-reul ga-reu-chi-gi-do hae-yo.]
- = ฉันก็สอนภาษาอังกฤษ ฉันก็เป็นครูสอนภาษาอังกฤษ
- 컴퓨터도 고쳐요. [keom-pyu-teo-do go-chyeo-yo.]
- = ฉันซ่อมคอมพิวเตอร์ด้วย
- 컴퓨터를 고치기도 해요. [keom-pyu-teo-reul go-chi-gi-do hae-yo.]
- = ฉันก็ซ่อมคอมพิวเตอร์