Difference between revisions of "TTMIK ระดับ 1 ระดับ1 บทที่ 6"
Piggyrabbit (Talk | contribs) (Created page with 'หลังจากที่เรียนบทนี้แล้ว คุณจะสามารถพูดประโยคว่า "นี่คือ กขค" ห...') |
Piggyrabbit (Talk | contribs) |
||
Line 1: | Line 1: | ||
− | หลังจากที่เรียนบทนี้แล้ว | + | หลังจากที่เรียนบทนี้แล้ว เราจะสามารถพูดประโยคว่า "นี่คือ กขค" หรือถามว่า "นี่คือ กขค ใช่ไหม" หรือแม้แต่ถามว่า "นี่คืออะไร" ในภาษาเกาหลีแบบสุภาพ |
− | 이에요 / 예요 [i-e-yo / ye-yo] | + | <font color=DeepSkyBlue>이에요 / 예요</font> [i-e-yo (อี เอ โย) / ye-yo (เย โย)] |
+ | |||
+ | บทที่แล้ว เราได้เรียนกันไปแล้วว่า 이에요 [i-e-yo (อี เอ โย)] และ 예요 [ye-yo (เย โย)] สามารถวางไว้หลังคำนามเพื่อแสดงประโยคประมาณว่า "นี่คือ กขค" หรือ "ฉันคือ กขค" ได้อย่างไร | ||
+ | |||
+ | ทบทวน/ตัวอย่าง | ||
+ | 책 [chaek] + 이에요 [i-e-yo] = 책이에요. [chaek-i-e-yo] = นี้คือหนังสือ | ||
+ | 저 [ jeo] + 예요 [ye-yo] = 저예요. [ jeo-ye-yo] = นี่คือฉัน | ||
+ | |||
+ | ** 이에요 และ 예요 มีลักษณะการใช้งานคล้ายกับกริยา "to be" ในภาษาอังกฤษ | ||
+ | |||
+ | คำนามที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะหรือมีตัวสะกด จะใช้ 이에요 [i-e-yo] ต่อท้าย | ||
+ | คำนามที่ลงท้ายด้วยสระ หรือไม่มีตัวสะกด จะใช้ 예요 [ye-yo] ต่อท้าย | ||
+ | |||
+ | 이거 [i-geo] = นี้ / อันนี้ | ||
+ | 이 [i] (“นี้”) + 것 [geot] (“อัน/สิ่งของ”) = 이것 [i-geot] --> 이거 [i-geo] =อันนี้ | ||
+ | 이거 [i-geo] มาจากคำว่า 이것 [i-geot] เป็นการผสมกันระหว่างคำว่า 이 [i] ที่แปลว่า "นี้" กับ 것 [geot] ที่แปลว่า "อัน/สิ่งของ" แต่เรามักจะใช้คำว่า 이거 [i-geo] เพราะง่ายกับการออกเสียงมากกว่า | ||
+ | |||
+ | ตัวอย่างประโยค | ||
+ | 이거 책이에요. [i-geo chaek-i-e-yo] = นี้คือหนังสือ | ||
+ | 이거 카메라예요. [i-geo ka-me-ra-ye-yo] = นี้คือกล้อง | ||
+ | 이거 커피예요. [i-geo keo-pi-ye-yo] = นี้คือกาแฟ | ||
+ | 이거 사전이에요. [i-geo sa-jeon-i-e-yo] = นี้คือพจนานุกรม |
Revision as of 18:54, 17 December 2011
หลังจากที่เรียนบทนี้แล้ว เราจะสามารถพูดประโยคว่า "นี่คือ กขค" หรือถามว่า "นี่คือ กขค ใช่ไหม" หรือแม้แต่ถามว่า "นี่คืออะไร" ในภาษาเกาหลีแบบสุภาพ
이에요 / 예요 [i-e-yo (อี เอ โย) / ye-yo (เย โย)]
บทที่แล้ว เราได้เรียนกันไปแล้วว่า 이에요 [i-e-yo (อี เอ โย)] และ 예요 [ye-yo (เย โย)] สามารถวางไว้หลังคำนามเพื่อแสดงประโยคประมาณว่า "นี่คือ กขค" หรือ "ฉันคือ กขค" ได้อย่างไร
ทบทวน/ตัวอย่าง 책 [chaek] + 이에요 [i-e-yo] = 책이에요. [chaek-i-e-yo] = นี้คือหนังสือ 저 [ jeo] + 예요 [ye-yo] = 저예요. [ jeo-ye-yo] = นี่คือฉัน
- 이에요 และ 예요 มีลักษณะการใช้งานคล้ายกับกริยา "to be" ในภาษาอังกฤษ
คำนามที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะหรือมีตัวสะกด จะใช้ 이에요 [i-e-yo] ต่อท้าย คำนามที่ลงท้ายด้วยสระ หรือไม่มีตัวสะกด จะใช้ 예요 [ye-yo] ต่อท้าย
이거 [i-geo] = นี้ / อันนี้ 이 [i] (“นี้”) + 것 [geot] (“อัน/สิ่งของ”) = 이것 [i-geot] --> 이거 [i-geo] =อันนี้ 이거 [i-geo] มาจากคำว่า 이것 [i-geot] เป็นการผสมกันระหว่างคำว่า 이 [i] ที่แปลว่า "นี้" กับ 것 [geot] ที่แปลว่า "อัน/สิ่งของ" แต่เรามักจะใช้คำว่า 이거 [i-geo] เพราะง่ายกับการออกเสียงมากกว่า
ตัวอย่างประโยค 이거 책이에요. [i-geo chaek-i-e-yo] = นี้คือหนังสือ 이거 카메라예요. [i-geo ka-me-ra-ye-yo] = นี้คือกล้อง 이거 커피예요. [i-geo keo-pi-ye-yo] = นี้คือกาแฟ 이거 사전이에요. [i-geo sa-jeon-i-e-yo] = นี้คือพจนานุกรม