Difference between revisions of "TTMIK ระดับ 1 ระดับ1 บทที่ 9"

From Korean Wiki Project
Jump to: navigation, search
Line 65: Line 65:
 
이거는 오렌지주스예요. [i-geo-NEUN o-ren-ji-ju-seu-ye-yo]
 
이거는 오렌지주스예요. [i-geo-NEUN o-ren-ji-ju-seu-ye-yo]
 
(= อันนี้น่ะ คือน้ำส้ม (อันนี้ก็ต่างออกไปนะ เป็นน้ำส้ม ไม่ใช่น้ำหรือกาแฟ))
 
(= อันนี้น่ะ คือน้ำส้ม (อันนี้ก็ต่างออกไปนะ เป็นน้ำส้ม ไม่ใช่น้ำหรือกาแฟ))
이거는 뭐예요? [i-geo-NEUN mwo-ye-yo?]  
+
이거는 뭐예요? [i-geo-NEUN mwo-ye-yo?]
 
(= แล้วอันนี้่ล่ะ คืออะไร)
 
(= แล้วอันนี้่ล่ะ คืออะไร)
 +
 +
จากตัวอย่างข้างต้น เราจะเห็นว่า 은/는 ใช้ในการเน้นแสดงหัวข้อของประโยค โดยการให้ความหมายในเชิงที่ว่า "อันนี้คือ....และสิ่งนั้นคือ...." ดังนั้น การใช้ 은/는 ในทุกประโยคที่เราพูดอาจจะดูไม่ค่อยเป็นธรรมชาตินัก
 +
 +
ดังนั้นคนเกาหลีจึงมักจะใช้ 은/는 เฉพาะเวลาต้องการเน้นหัวข้อที่แตกต่างออกไปจากสิ่งที่กำลังพูดถึงอยู่ในประโยค
 +
ตัวอย่างเช่น ถ้าเราพูดว่า "วันนี้อากาศดีนะ" เราสามารถพูดได้หลายแบบในภาษาเกาหลี
 +
 +
1) 오늘 날씨 좋네요. [o-neul nal-ssi jot-ne-yo]
 +
    วันนี้อากาศดีนะ
 +
2) 오늘은 날씨 좋네요. [o-neul-EUN nal-ssi jot-ne-yo]
 +
    วันนี้อากาศดีนะ (อากาศช่วงนี้ไม่ค่อยดี แต่วันนี้ดีนะ)
 +
3) 오늘 날씨는 좋네요. [o-neul nal-ssi-NEUN jot-ne-yo]
 +
    วันนี้อากาศดีนะ (วันนี้ สิ่งอื่นๆ อาจจะไม่ดี แต่อากาศดีนะ)
 +
 +
เห็นไหมว่า คำแสดงหัวข้อ (은/는) ในภาษาเกาหลี สามารถทำให้ประโยคมีความหมายแฝงที่หลากหลายได้
 +
 +
ลองดูประโยคตัวอย่างของหัวข้อที่ (2)
 +
좋아요 [ jo-a-yo] = ดีนะ  /  뭐 [mwo] = อะไร  / 이/가 [i/ga] = คำแสดงประธาน
 +
 +
หากมีคนคนหนึ่งพูดว่า “좋아요. [ jo-a-yo]”  ซึ่งแปลว่า ดีนะ หรือ ฉันชอบนะ
 +
แต่เราอาจจะไม่แน่ใจว่า "อะไร" ที่ว่าดี ดังนั้น เราก็จะถามว่า "อะไรดีเหรอ" หรือ "เธอกำลังพูดถึงอะไรน่ะ"

Revision as of 16:02, 18 December 2011

บทนี้ เราจะมาเรียนเรื่อง คำแสดงหัวข้อ และ คำแสดงประธาน ในภาษาเกาหลี หลาย ๆ ภาษารวมถึงภาษาไทยไม่มีคำแสดงหัวข้อ หรือคำแสดงประธาน อยู่ในประโยค ดังนั้นเรื่องนี้จึงอาจจะค่อนข้างใหม่สำหรับคนไทย แต่เมื่อเราเริ่มคุ้นเคยกับมัน การใช้คำแสดงเหล่านี้จะง่ายและสะดวกขึ้นเอง

คำแสดงหัวข้อ

은 [eun] / 는 [neun]

หลัก ๆ แล้ว การใช้คำแสดงหัวข้อทั้งสองนี้จะใช้เพื่อแสดงให้คนอื่นรู้ว่าเรากำลังพูดหรือจะพูดถึงอะไร คำแสดงหัวข้อจะอยู่ต่อจากคำนาม

คำที่ลงท้ายด้วยตัวสะกด + -은 คำที่ลงท้ายด้วยสระ (ไม่มีตัวสะกด) + + -는

ตัวอย่าง 가방 [ga-bang] + 은 [eun] 나 [na] + 는 [neun]

หัวข้อของประโยค (คือสิ่งที่เรากำลังจะพูดถึง) ซึ่งตามด้วย 은 [eun] หรือ 는 [neun] มักจะเป็นประธานของประโยค แต่ไม่เสมอไป

저 [ jeo] = ฉัน 저 + 는 [neun] = 저는 [ jeo-neun] = สำหรับฉัน 저는 학생이에요. [ jeo-neun hak-saeng-i-e-yo] = สำหรับฉัน ฉันเป็นนักเรียน / ฉันเป็นนักเรียน

จากประโยคข้างบน คำว่า 저 (ฉัน) เป็นทั้งหัวข้อ (กำลังพูดถึงตัวเอง) และ ประธานของประโยค

แต่ลักษณะพิเศษของภาษาเกาหลี สามารถดูได้จากประโยคตัวอย่างดังนี้

내일은 저는 일해요. [nae-il-eun jeo-neun il-hae-yo] =วันพรุ่งนี้ ฉันทำงาน

내일 [nae-il] แปลว่า พรุ่งนี้ ตามด้วย 은 [eun] เป็นหัวข้อ แต่ไม่ใช่ประธานของประโยค กริยา 일하다 [il-ha-da] แปลว่า ทำงาน ดังนั้น คำว่า พรุ่งนี้ จึงไม่ใช่ประธานของประโยค เพราะพรุ่งนี้ทำงานไม่ได้ แต่ "ฉัน" เป็นคนทำงาน ดังนั้น "ฉัน" จึงเป็นประธานของประโยค


คำแสดงประธาน

이 [i] / 가 [ga]

การใช้คำแสดงประธานค่อนข้างง่ายเมื่อเทียบกับการใช้คำแสดงหัวข้อ

คำที่ลงท้ายด้วยตัวสะกด + -이 คำที่ลงท้ายด้วยสระ (ไม่มีตัวสะกด) + -가

ตัวอย่าง 가방 [ga-bang] + 이 [i] 학교 [hak-gyo] + 가 [ga]

ดังนั้น โดยหลัก ๆ แล้ว คำแสดงหัวข้อ (은/는) เป็นการใส่เพื่อแสดงให้เห็นว่าหัวข้อที่เรากำลังพูดถึงในประโยคคืออะไร และ คำแสดงประธาน (이/가) เป็นการใส่เพื่อแสดงให้เห็นว่าประธานของประโยค คืออะไร แต่ ไม่ใช่แค่นั้น

มีอะไรอีกสำหรับการใช้ 은/는/이/가? (1) นอกจากคำว่า 은 [eun] / 는 [neun] จะใช้แสดงหัวข้อแล้ว คำสองคำนี้ยังก่อให้เกิดความหมายในเชิง "เกี่ยวกับ" บางอย่าง "สำหรับ" บางสิ่ง หรือแม้กระทั่ง "ไม่เหมือนกับสิ่งอื่น" หรือ "แตกต่างจากสิ่งอื่น"

(2) นอกจากคำว่า 이 [i] / 가 [ga] จะใช้ในการแสดงประธานแล้ว ยังมีความหมายในเชิง "ไม่มีอะไรนอกจากนี้" "อันอื่นไม่ใช่ แต่ คืออันนี้เท่านั้น" และในประโยคที่ซับซ้อน ยังเป็นการแสดงประธานโดยที่ไม่ต้องเน้นคำนั้นมากจนเกินไป

ลองมาดูตัวอย่างประโยคในข้อ (1). 이거 [i-geo] = อันนี้ / 사과 [sa-gwa] = แอปเปิ้ล / 예요 [ye-yo] = คือ เป็น 이거 사과예요. [i-geo sa-gwa-ye-yo] = อันนี้คือแอปเปิ้ล เราสามารถใส่ 은/는 ในประโยคนี้ และในกรณีนี้ 이거 ลงท้ายด้วยสระ คือไม่มีตัวสะกด ดังนั้นเราจะใส่คำว่า -는. 이거는 사과예요. [i-geo-NEUN sa-gwa-ye-yo] = (สิ่งอื่นไม่ใช่แอปเปิ้ล แต่) อันนี้คือแอปเปิ้ล

ลองนึกถึงบทสนทนาแบบข้างล่างนี้ 이거 커피예요. [i-geo keo-pi-ye-yo] (= สิ่งนี้คือกาแฟ) 이거는 물이에요. [i-geo-NEUN mul-i-e-yo] (= สำหรับอันนี้ คือน้ำ (อันนั้นน่ะกาแฟแต่อันนี้น่ะ น้ำ)) 이거는 오렌지주스예요. [i-geo-NEUN o-ren-ji-ju-seu-ye-yo] (= อันนี้น่ะ คือน้ำส้ม (อันนี้ก็ต่างออกไปนะ เป็นน้ำส้ม ไม่ใช่น้ำหรือกาแฟ)) 이거는 뭐예요? [i-geo-NEUN mwo-ye-yo?] (= แล้วอันนี้่ล่ะ คืออะไร)

จากตัวอย่างข้างต้น เราจะเห็นว่า 은/는 ใช้ในการเน้นแสดงหัวข้อของประโยค โดยการให้ความหมายในเชิงที่ว่า "อันนี้คือ....และสิ่งนั้นคือ...." ดังนั้น การใช้ 은/는 ในทุกประโยคที่เราพูดอาจจะดูไม่ค่อยเป็นธรรมชาตินัก

ดังนั้นคนเกาหลีจึงมักจะใช้ 은/는 เฉพาะเวลาต้องการเน้นหัวข้อที่แตกต่างออกไปจากสิ่งที่กำลังพูดถึงอยู่ในประโยค ตัวอย่างเช่น ถ้าเราพูดว่า "วันนี้อากาศดีนะ" เราสามารถพูดได้หลายแบบในภาษาเกาหลี

1) 오늘 날씨 좋네요. [o-neul nal-ssi jot-ne-yo]

   วันนี้อากาศดีนะ

2) 오늘은 날씨 좋네요. [o-neul-EUN nal-ssi jot-ne-yo]

    วันนี้อากาศดีนะ (อากาศช่วงนี้ไม่ค่อยดี แต่วันนี้ดีนะ)

3) 오늘 날씨는 좋네요. [o-neul nal-ssi-NEUN jot-ne-yo]

   วันนี้อากาศดีนะ (วันนี้ สิ่งอื่นๆ อาจจะไม่ดี แต่อากาศดีนะ)

เห็นไหมว่า คำแสดงหัวข้อ (은/는) ในภาษาเกาหลี สามารถทำให้ประโยคมีความหมายแฝงที่หลากหลายได้

ลองดูประโยคตัวอย่างของหัวข้อที่ (2) 좋아요 [ jo-a-yo] = ดีนะ / 뭐 [mwo] = อะไร / 이/가 [i/ga] = คำแสดงประธาน

หากมีคนคนหนึ่งพูดว่า “좋아요. [ jo-a-yo]” ซึ่งแปลว่า ดีนะ หรือ ฉันชอบนะ แต่เราอาจจะไม่แน่ใจว่า "อะไร" ที่ว่าดี ดังนั้น เราก็จะถามว่า "อะไรดีเหรอ" หรือ "เธอกำลังพูดถึงอะไรน่ะ"