Difference between revisions of "TTMIK ระดับ 1 ระดับ1 บทที่ 16"
Piggyrabbit (Talk | contribs) |
Piggyrabbit (Talk | contribs) |
||
Line 26: | Line 26: | ||
**จำไว้ว่าเรากำลังเรียนการลงท้ายในภาษาสุภาพ ยังไม่ต้องกังวลถึงการใช้ภาษาแบบสุภาพในระดับอื่นๆ หลังจากที่เราเรียนรู้การพูดทุกอย่างในแบบภาษาสุภาพแล้ว การเปลี่ยนเป็นภาษาที่สุภาพขึ้นไปอีกจะง่ายขึ้นแล้ว | **จำไว้ว่าเรากำลังเรียนการลงท้ายในภาษาสุภาพ ยังไม่ต้องกังวลถึงการใช้ภาษาแบบสุภาพในระดับอื่นๆ หลังจากที่เราเรียนรู้การพูดทุกอย่างในแบบภาษาสุภาพแล้ว การเปลี่ยนเป็นภาษาที่สุภาพขึ้นไปอีกจะง่ายขึ้นแล้ว | ||
+ | |||
+ | แล้ว คำลงท้ายแบบไหนจะคู่กับกริยาแบบไหนกันล่ะ | ||
+ | |||
+ | ง่ายมาก | ||
+ | |||
+ | ถ้าคำกริยาลงท้ายด้วยสระ ㅏ[a] หรือ ㅗ [o], จะตามด้วย 아요 [a-yo] | ||
+ | ถ้าคำกริยาไม่ได้ลงท้ายด้วยสระㅏ[a] หรือ ㅗ [o], จะตามด้วย [eo-yo] | ||
+ | และคำกริยาที่ลงท้ายด้วย 하 [ha] เท่านั้น ถึงจะตามด้วย 여요 [yeo-yo] | ||
+ | |||
+ | ตัวอย่าง | ||
+ | 1) 가다 [ga-da] = to go | ||
+ | รากศัพท์คือ 가 [ga] เสียงสระลงท้ายคือㅏ [a] เพราะฉะนั้นเราจะเติม 아요 [a-yo] | ||
+ | ตอนแรกจะผสมกันเป็น 가 + 아요 และเพื่อให้ออกเสียงเป็นธรรมชาติมากขึ้น ก็จะกลายเป็น 가요 [ga-yo] |
Revision as of 16:03, 3 January 2012
บทนี้ เราจะมาเรียนการผันกริยา เวลาเราหาคำศัพท์ในพจนานุกรม กริยาจะอยู่ในรูปแบบดังนี้
가다 [ga-da] = ไป 먹다 [meok-da] = กิน 자다 [ ja-da] = นอน 때리다 [ttae-ri-da] = ตี 웃다 [ut-da] = หัวเราะ
เมื่อเราต้องการจะเปลียนรูปแบบกริยาเพื่อแสดงปัจจุบันกาล อนาคตกาล หรือ อดีตกาล สิ่งแรกที่ต้องทำคือละ คำลงท้ายกริยา 다 [da] แล้วเราก็จะได้รากศัพท์ของคำกริยา
가 [ga] 먹 [meok] 자 [ ja] 때리 [ttae-ri] 웃 [ut]
จากนี้เราก็จะผันกริยาโดยการเติมคำลงท้ายให้เหมาะสม บทนี้เราจะเรียนการผันกริยาให้อยู่ในรูปปัจจุบันกาล
ปัจจุบันกาล
การผันกริยาให้อยู่ในรูปปัจจุบันกาล เราจะเติมคำลงท้ายต่อไปนี้ต่อจากรากศัพท์คำกริยา
아요 [a-yo] 어요 [eo-yo] 여요 [yeo-yo]
- จำไว้ว่าเรากำลังเรียนการลงท้ายในภาษาสุภาพ ยังไม่ต้องกังวลถึงการใช้ภาษาแบบสุภาพในระดับอื่นๆ หลังจากที่เราเรียนรู้การพูดทุกอย่างในแบบภาษาสุภาพแล้ว การเปลี่ยนเป็นภาษาที่สุภาพขึ้นไปอีกจะง่ายขึ้นแล้ว
แล้ว คำลงท้ายแบบไหนจะคู่กับกริยาแบบไหนกันล่ะ
ง่ายมาก
ถ้าคำกริยาลงท้ายด้วยสระ ㅏ[a] หรือ ㅗ [o], จะตามด้วย 아요 [a-yo] ถ้าคำกริยาไม่ได้ลงท้ายด้วยสระㅏ[a] หรือ ㅗ [o], จะตามด้วย [eo-yo] และคำกริยาที่ลงท้ายด้วย 하 [ha] เท่านั้น ถึงจะตามด้วย 여요 [yeo-yo]
ตัวอย่าง 1) 가다 [ga-da] = to go รากศัพท์คือ 가 [ga] เสียงสระลงท้ายคือㅏ [a] เพราะฉะนั้นเราจะเติม 아요 [a-yo] ตอนแรกจะผสมกันเป็น 가 + 아요 และเพื่อให้ออกเสียงเป็นธรรมชาติมากขึ้น ก็จะกลายเป็น 가요 [ga-yo]